ผู้เผยแพร่แอสเสท

สิ่งพิมพ์

บทความล่าสุด
รายการสิ่งพิมพ์

ผู้เผยแพร่แอสเสท

แนวทางการพัฒนาการปรึกษาหารือเชิงสถาบันเพื่อระบบการคุ้มครองทางสังคมแบบครอบคลุม

สรุปผลงานวิจัยการดำเนินและพัฒนานโยบายการคุ้มครองทางสังคมของประเทศไทย

มาตรการการคุ้มครองทางสังคมเป็นกลไกที่สำคัญกลไกหนึ่งของการพัฒนาประเทศอย่างครอบคลุมที่จะต้องรวมเอาการส่งเสริมความเท่าเทียม การขจัดความยากจน และความสามารถในการจัดการความเสี่ยงในชีวิตมนุษย์เข้ามาไว้ในกระบวนการพัฒนานโยบายที่เกี่ยวข้อง การคุ้มครองทางสังคมที่ครอบคลุมย่อมกลายเป็นแกนสำคัญโดยพื้นฐานต่อการส่งเสริมความเป็นธรรมและการทำงานอย่างสอดประสานกันของทุกฝ่ายในสังคมในยุคที่ภาวะความเหลื่อมล้ำ สัดส่วนที่เพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรผู้สูงอายุ และภาวะความเปราะบางของมนุษย์ที่มีอยู่อย่างหลากหลายรูปแบบทวีความรุนแรงขึ้นมาก การคุ้มครองทางสังคมที่ครอบคลุมนั้นจะตั้งอยู่บนหลักการที่ว่ามนุษย์ทุกคนไม่ว่าจะอยู่ในสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมแบบใดควรที่จะสามารถเข้าถึงกลไกความช่วยเหลือต่าง ๆ ที่จะช่วยประคับประคองการดำรงชีวิตและความเป็นอยู่ให้เป็นไปตามมาตรฐานได้ ความครอบคลุมของการคุ้มครองนั้นสำคัญอย่างยิ่งต่อประชากรกลุ่มเปราะบางและกลุ่มคนชายขอบที่มักจะประสบปัญหาในการดำรงชีพจากโครงสร้างทางสังคมที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงความช่วยเหลือและสวัสดิการต่าง ๆ

SDGs | The Depth of Field

Challenges of the Implementation of SDGs in Thailand and Southeast Asia

The Depth of Field (ระยะชัดลึก) เป็นคำศัพท์เฉพาะทางด้านการถ่ายภาพ หมายถึงกระบวนการควบคุมความคมชัดในระยะใกล้ไกลของภาพถ่าย หนังสือ SDGs | The Depth of Field จึงเป็นการใช้ภาพถ่ายพาไปสำรวจเรื่องราวของ "เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)" เพื่อขยายขอบเขตความเข้าใจ และนำไปสู่การตั้งคำถามร่วมกันในระยะที่ชัดเจนและลึกซึ้งกว่าที่เคยเป็นมา — ส่วนหนึ่งของคำนำ โดย จิระนันท์ พิตรปรีชา ที่ปรึกษาสำนักข่าว Bangkok Tribune

คู่มือการพัฒนาระบบราชการ 4.0

ภายใต้โครงการความร่วมมือ "Public Sector Management with Public Participation in Open Government in Thailand"

อีบุ๊คเล่มนี้รวบรวมแนวทางการปฏิบัติงานที่เป็นตัวอย่างที่ดีเพื่อให้เจ้าหน้าที่รัฐ และบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้ศึกษา เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาระบบราชการไทยผ่านนวัตกรรมและภาครัฐระบบเปิดให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

จะให้เขาเลือกให้ หรือ เราจะเลือกเอง – พิมพ์ครั้งที่ 2

รูปแบบและแนวทางการเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัด

หนังสือเล่มนี้นำเสนอแนวทางการเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัด 5 รูปแบบ ผ่านการวิจัยและสังเคราะห์ความเห็นจากเวทีแสดงความคิดเห็นสาธารณะใน 4 จังหวัดทั่วประเทศไทย ในการตีพิมพ์ครั้งนี้สองนี้ได้เพิ่มเติมความเห็นต่อแนวทางทั้ง 5 รูปแบบดังกล่าว ที่ได้จากการนำเสนอหนังสือฉบับแรก

บทความข่าวจากสำนักข่าวอิศราระหว่างเดือน กรกฎาคม ถึง ธันวาคม 2567

ชวนอ่านรายงานพิเศษข่าวความเคลื่อนไหวในประเด็นนโยบายสาธารณะ นิติรัฐ นิติธรรม และสิ่งแวดล้อม ผลิตโดยสำนักข่าวอิศรา

รายงานพิเศษเจาะลึกประเด็นนโยบายสาธารณะ นิติรัฐ นิติธรรม และสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย สนับสนุนการผลิตโดยมูลนิธิคอนราด อาเดนาวร์

ทางออกประชามติ ปูทางสู่รัฐธรรมนูญประชาธิปไตย

อ่านเอกสารสรุปประเด็นถกเถียงและข้อท้าทายหลักเกี่ยวกับการแก้ไข พรบ.ว่าด้วยการออกเสียงประชามติและประเด็นที่อาจเชื่อมโยงกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญ

รายงานฉบับนี้รวบรวมประเด็นสำคัญต่างๆ จากการสัมมนาสาธารณะ หัวข้อ "ทางออกประชามติ ปูทางสู่รัฐธรรมนูญประชาธิปไตย" ที่จัดขึ้นเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2567 ได้แก่ ข้อคิดเห็นจากการบรรยายพิเศษและการเวทีเสวนาเกี่ยวกับการแก้ไขพระราชบัญญัติว่าด้วยการออกเสียงประชามติ และความเกี่ยวข้องกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญ นอกจากนั้น เอกสารยังนำเสนอบทสรุปสำหรับผู้บริหารและได้สังเคราะห์ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่เกิดขึ้นภายในงาน การสัมมนาครั้งนี้จัดขึ้นโดยความร่วมมือระหว่างสถาบันศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตยและสถาบันพระปกเกล้า โดยได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิคอนราด อาเดนาวร์ ประเทศไทย

บทความข่าวจากสำนักข่าวอิศราระหว่างเดือน มีนาคม ถึง มิถุนายน 2567

ชวนอ่านรายงานพิเศษข่าวความเคลื่อนไหวในประเด็นนโยบายสาธารณะ นิติรัฐ นิติธรรม และสิ่งแวดล้อม ผลิตโดยสำนักข่าวอิศรา

รายงานพิเศษเจาะลึกประเด็นนโยบายสาธารณะ นิติรัฐ นิติธรรม และสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย สนับสนุนการผลิตโดยมูลนิธิคอนราด อาเดนาวร์

i.Law TH

Thailands Streben nach Demokratie und Rechtsstaatlichkeit

Versuche und Rückschläge seit der Regierungsbildung im Jahr 2023

Nach einem Jahrzehnt unter einer Militärjunta (2014-2019) und einer vom Militär dominierten Regierung (2019-2023) fanden in Thailand im Mai 2023 Parlamentswahlen statt. Die Wahlen deuteten eine klare Ablehnung von pro-militärischen und konservativen Gruppierungen an. Die Pheu-Thai-Partei (PTP), die bei den Wahlen den zweiten Platz belegte, bildete eine Regierungskoalition mit elf anderen Parteien. Darunter sind konservative und militärisch ausgerichtete Fraktionen wie die United Thai Nation (UTN) unter der Führung des ehemaligen Premierministers Prayuth Chan-ocha. General Prayuth war der Drahtzieher des Militärputsches 2014, durch den die damalige PTP-Regierung gestürzt wurde. In der Zwischenzeit bleibt der Wahlsieger von 2023, die progressive und reformorientierte Move-Forward-Partei (MFP), die landesweit 14 Millionen von rund 39 Millionen Stimmen erzielte, mit 151 Abgeordneten in der Opposition und stellt damit die größte Fraktion in der Nationalversammlung. Premierminister Srettha Thavisin und seine Minister haben wiederholt betont, dass Thailand demokratischen Grundsätzen verpflichtet ist. Jedoch stufte Freedom House im März 2024 Thailand in seinem Jahresbericht zu politischen und bürgerlichen Rechten mit 36 von 100 Punkten nur als "teilweise frei" ein.1Dieser Länderbericht stellt die Herausforderungen dar, denen sich Thailand seit der Regierungsbildung 2023 in seinem Streben nach Demokratie, Menschenrechten und Rechtsstaatlichkeit gegenübersieht, sowie die Bemühungen, diese Hürden zu bewältigen.

คู่มือการดำเนินคดีปกครองทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับประชาชน

นวัตกรรมกับหลักนิติธรรม

สำนักงานศาลปกครอง โดยการสนับสนุนของมูลนิธิคอนราด อาเดนาวร์ ประเทศไทย ได้จัดทำ "คู่มือการดำเนินคดีปกครองทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับประชาชน" เพื่อให้ทั้งประชาชนและหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องได้เข้าใจและใช้ประโยชน์จากระบบการจัดการคดีทางปกครองแบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Admincourt ได้เต็มที่

รูปแบบและแนวทางการเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัด

หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานการศึกษาวิเคราะห์และสังเคราะห์ที่ได้จากเวทีเสวนาเชิงลึก 7 เวทีใน 4 จังหวัดทั่วประเทศไทย โดยมีกลุ่มเป้าหมายหลักที่มีส่วนร่วม ได้แก่ กลุ่มข้าราชการส่วนภูมิภาคในจังหวัด กลุ่มผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่น และบุคลากรหรือพนักงานท้องถิ่น กลุ่มนักวิชาการในมหาวิทยาลัยหรือผู้ทรงคุณวุฒิ และกลุ่มผู้นำชุมชนหรือภาคประชาสังคมในจังหวัด

  • 1/22

ผู้เผยแพร่แอสเสท

รายงานสถานการณ์ในประเทศไทย

รายงานโดยสังเขปเกี่ยวกับการพัฒนาประชาธิปไตยจากสำนักงานมูลนิธิฯ ในต่างประเทศ

Konrad-Adenauer-Stiftung มีสำนักงานตัวแทนใน 80 ประเทศในห้าทวีป พนักงานในต่างประเทศสามารถให้รายงานเบื้องต้นเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันและการพัฒนาในระยะยาวในประเทศของตนได้ และผู้ใช้เว็บไซต์สามารถเข้าไปดูการวิเคราะห์ ข้อมูลพื้นฐานและการประเมินผลเฉพาะของ Konrad-Adenauer-Stiftung เหล่านั้นใน "country reports" ได้

กิจกรรมที่จัด

Konrad-Adenauer-Stiftung พร้อมด้วยสถาบันการศึกษา ศูนย์การศึกษาและสำนักงานต่างประเทศจะมีการจัดกิจกรรมในหัวข้อต่าง ๆ นับพันกิจกรรมในแต่ละปี เราให้รายงานที่ทันสมัยและเป็นการเฉพาะแก่ท่านเกี่ยวกับการประชุม คอนเสิร์ต การประชุมใหญ่สัมมนา ฯลฯ ที่คัดสรรไว้ใน www.kas.de นอกเหนือจากเนื้อหาโดยสรุปและวัสดุอื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น รูปภาพ ต้นฉบับสุนทรพจน์ แถบบันทึกวิดีทัศน์หรื�

ผู้เผยแพร่แอสเสท